ส่วนที่ ๔

เพิกถอนการฉ้อฉล

第四款

詐害行為取消権

มาตรา ๒๓๗

เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสียได้ ซึ่งนิติกรรมใดๆ อันลูกหนี้ได้กระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าปรากฏว่าในขณะที่ทำนิติกรรมนั้น บุคคลซึ่งเป็นผู้ได้ลาภงอกแต่การนั้นมิได้รู้เท่าถึงข้อความจริง อันเป็นทางให้เจ้าหนี้ต้องเสียเปรียบนั้นด้วย แต่หากกรณีเป็นการทำให้โดยเสน่หา ท่านว่าเพียงแต่ลูกหนี้เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียวเท่านั้นก็พอแล้วที่จะขอเพิกถอนได้

บทบัญญัติดังกล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับแก่นิติกรรมใดอันมิได้มีวัตถุเป็นสิทธิในทรัพย์สิน

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

409

Gr. Code (1898)

Jp. Code (1896,98)

* 424

Miscellaneous

It.1239

第237条

I.

債権者は、債務者が債権者の利益を害することを知りながら行った法律行為の取り消しを裁判所に請求することができる。但し、その行為によって利益を得た者が、その行為の時点において債権者を害するべき事実を知らなかったことが判明したときは、その限りではない。[この場合において]当該行為が贈与であるときは、債務者自身が[詐害の事実を]知ってさえいれば、[債権者の詐害行為取り消し]請求権を基づけるに足る。

II.

本条第1項の規定は、財産権を目的としない法律行為については、これを適用しない。

มาตรา ๒๓๘

การเพิกถอนดังกล่าวมาในบทมาตราก่อนนั้น ไม่อาจกระทบกระทั่งถึงสิทธิของบุคคลภายนอก อันได้มาโดยสุจริตก่อนเริ่มฟ้องคดีขอเพิกถอน

อนึ่ง ความที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าสิทธินั้นได้มาโดยเสน่หา

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

Gr. Code (1898)

Jp. Code (1896,98)

Miscellaneous

It.1235

第238条

I.

第237条に基づく法律行為の取り消しによって、その訴えの提起以前に第三者が善意で取得した権利を害することはできない。

II.

本条第1項の規定は、[債務者から第三者に]贈与された権利については、これを適用しない。

มาตรา ๒๓๙

การเพิกถอนนั้นย่อมได้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้หมดทุกคน

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

* 412

Gr. Code (1898)

Jp. Code (1896,98)

425

Miscellaneous

第239条

法律行為の[第237条に基づく]取り消しは、すべての債権者の利益のためにその効力を生ずる。

มาตรา ๒๔๐

การเรียกร้องขอเพิกถอนนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องร้องเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่เวลาที่เจ้าหนี้ได้รู้ต้นเหตุอันเป็นมูลให้เพิกถอน หรือพ้นสิบปีนับแต่ได้ทำนิติกรรมนั้น

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

* 413, 414

Gr. Code (1898)

Jp. Code (1896,98)

426

Miscellaneous

第240条

この[第237条の規定による法律行為の]取り消し請求権は、債権者が取り消しの原因を知った時から1年を経過したときは、もはやこれを行使することができない。行為の時から10年を経過したときも、同様とする。

* * *