ลักษณะ ๒

บุคคล

第二章

หมวด ๑

บุคคลธรรมดา

第一節

自然人

ส่วนที่ ๑

สภาพบุคคล

第一款

権利能力

มาตรา ๑๕

สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสุดสิ้นลงเมื่อตาย

ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่างๆ ได้ หากว่าภายหลังเกิดมารอดอยู่

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

* 39

New Text (1992)

15

Jp. Code (1896,98)

[1, 968]

Gr. Code (1898)

[1, 1912]

Miscellaneous

S.31 [=S.C.31]

第15条

I.

自然人の権利能力は、分娩が無事に完了して新生児として生きて[母体から]分離した時点に開始し、死によって終了する。

II.

未だ母体内にある胎児であっても、後に出生し生存することを条件として、種々の権利を享受することができる。

มาตรา ๑๖

ถ้าเป็นพ้นวิสัยที่จะรู้วันเกิดของบุคคลผู้ใด ท่านให้นับอายุของบุคคลผู้นั้นตั้งแต่วันต้นแห่งปีประดิทินหลวงซึ่งเป็นปีที่บุคคลผู้นั้นเกิด

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

* 41

New Text (1992)

16

Jp. Code (1896,98)

Gr. Code (1898)

Miscellaneous

Conscription Law.

第16条

ある個人の出生日を知ることが不可能なときは、その者の年齢は、出生した年の太陽暦上最初の日より起算する。

มาตรา ๑๗

ถ้าบุคคลหลายคนถึงชีวิตันตรายในเหตุภยันตรายร่วมกัน และเป็นการพ้นวิสัยที่จะกำหนดได้ว่าคนไหนถึงชีวิตันตรายก่อนหลังไซร้ ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าตายพร้อมกัน

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

New Text (1992)

17

Jp. Code (1896,98)

Gr. Code (1898)

20

Miscellaneous

Br.11; * S.32 [=S.C.32 par.2]

第17条

危難に遭遇して複数の者が死亡し、それらの者の死亡時刻の前後関係を認定することが不可能なときには、同一時刻に死亡したものと推定する。

มาตรา ๑๘

สิทธิของบุคคลในการที่จะใช้นามอันชอบที่จะใช้ได้นั้น ถ้ามีบุคคลอื่นโต้แย้งก็ดี หรือบุคคลผู้เจ้าของนามนั้นต้องเสื่อมเสียประโยชน์เพราะการที่มีผู้อื่นมาใช้นามเดียวกันโดยมิได้รับอำนาจให้ใช้ได้ก็ดี ท่านว่าบุคคลผู้เจ้าของนามจะเรียกให้บุคคลอื่นนั้นระงับความเสียหายก็ได้ ถ้าและเป็นที่พึงวิตกว่าจะต้องเสียหายอยู่สืบไป จะร้องขอต่อศาลให้สั่งห้ามก็ได้

Praya Man's Index with Supplementary Entries by the Translator (in [ ])

Old Text (1923)

[42]

New Text (1992)

18

Jp. Code (1896,98)

Gr. Code (1898)

* 12

Miscellaneous

[S.C.29]

第18条

氏名を使用する正当な権利を他人が争うとき、または他人が正当な権限なく同一の氏名を使用したために、権利者の利益が侵害されたときは、権利者は、侵害者に対してその侵害行為の停止を請求することができる。また、その侵害が継続している場合、あるいは更に侵害が継続する虞がある場合には、権利者は、裁判所に対して侵害停止[権利保全]の訴えを起こすことができる。

* * *